การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอนั้นเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการใช้ชีวิต ซึ่งความต้องการในการนอนหลับของคนมีไม่เท่ากันเนื่องจากขึ้นอยู่กับอายุ แต่วงจรการใช้ชีวิตในปัจจุบันนั้นเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว
หยิน เปรียบเสมือนพลังความเย็น ความสงบ ความหยุดนิ่ง เมื่อร่างกายขาดพลังงานหยิน หรือหยินพร่อง จะทำให้ร่างกายเกิดความร้อน มือร้อนเท้าร้อน หน้าแดง รู้สึกมีไข้ต่ำๆ ปากแห้งคอแป้ง เหงื่อออกตอนกลางคืน ร่างกายผ่ายผอม นอนไม่หลับ เป็นต้น
วิงเวียนศรีษะ คือ อาการที่คนไข้รู้สึกหน้ามืดตาลาย ร่างกายหรือสภาพแวดล้อมภายนอกหมุน ถ้าอาการไม่หนักหลับตาอาการจะเบาลง ถ้ามีอาการหนัก จะมีอาการเหมือน นั่งเรือ ไม่สามารถ ทรงตัวได้ อาจจะมีอาการ อยากอาเจียน หรือ มีเหงื่อออกร่วมด้วย
ภาวะหยางพร่อง คือภาวะที่ร่างกายขาดเสียสมดุลของหยางไป ซึ่งหยางเปรียบเสมือนไฟ ความร้อน การกระตุ้น การเคลื่อนไหว ให้กับร่างกาย เมื่อร่างกายอยู่ในภาวะหยางพร่อง จะมีอาการขี้หนาว ไม่ชอบความหนาว เฉื่อยชา ใบหน้าซีดขาว มือเท้าเย็น ง่วงนอน ไม่มีชีวิตชีวา
โรควิตกกังวล ถือเป็นโรคทางจิตเวชที่พบได้บ่อยมากขึ้นในปัจจุบัน มีความแตกต่างไปจากความวิตกกังวลทั่วไปซึ่งเป็นความรู้สึกที่สามารถพบได้ในชีวิตประจำวัน
โรคซึมเศร้าฟังดูแล้วอาจจะน่ากลัว แต่ถ้าคนใกล้ตัวรู้วิธีดูแลผู้ป่วย และการปฏิบัติตัวกับผู้ป่วย โรคซึมเศร้าก็เป็นสิ่งที่ควบคุมได้ แล้วจะควบคุมหรือดูแลคนป่วยอย่างไรให้สามารถใช้ชีวิตร่วมกันได้อย่างเป็นมีชีวิตเป็นปกติ เรามีคำแนะนำดีๆ มาบอกค่ะ
“ซึมเศร้า” หนึ่งในโรคจิตเวชที่คนไทยเป็นกันมาก และมีผู้ป่วยจำนวนไม่น้อยที่ไม่รู้ตัวว่าเป็น ทำให้ไม่ได้เข้าถึงการรักษาอย่างทันท่วงที หรือบางคนอาจจะรู้ตัวว่าป่วยแต่ไม่ยอมเข้ารับการรักษาจนทำให้อาการรุนแรงขึ้น
โดยสาเหตุของโรคซึมแบ่งเป็น 4 ปัจจัยหลัก ดังนี้
โรคไบโพลาร์ คือ คนที่มีอารมณ์แปรปรวนสลับกันระหว่างอารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ โดยไม่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ใดๆ ในช่วงที่อารมณ์ ซึมเศร้า ผู้ป่วยมักเบื่อหน่าย ท้อแท้ ไม่อยากทำอะไร อ่อนเพลีย มองโลกทุกอย่างในแง่ลบ
ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น ขณะเดียวกันจำนวนผู้สูงอายุติดบ้านที่มีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และผู้สูงอายุติดเตียงที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ก็มีมากขึ้นตามไปด้วย
ซึมเศร้าในผู้สูงอายุ (Late-life depression) จะเป็นโรคซึมเศร้าในผู้สูงวัยในช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป ดังนั้นคนในครอบครัวต้องคอยสังเกตอาการ รู้ถึงสาเหตุและทำความเข้าใจกับโรคนี้ให้มาก เพื่อให้คนที่เรารักผ่านพ้นโรคนี้ไปให้ได้